จุ้ยบ้วยเนี้ย

จุ้ยบ้วยเนี้ย (จีน 水尾聖娘 พินอิน Shuǐ wěi shèng niáng) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีน จุ้ยบ้วยเนี้ย หรือแปลตรงตัวได้ว่า เจ้าแม่ท้ายน้ำ หรือที่ชาวไทยรู้จักกันในนาม เจ้าแม่ทับทิม เป็นเทวนารี ที่รู้จักและนิยมบูชาเช่นเดียวกับม่าจ้อโป๋ หรือไฮตังม่า เป็นเทพเจ้าที่ได้รับความเคารพในหมู่ของชาวฮกเกี้ยน และ ชาวไหหลำ และชาวจีนโพ้นทะเล ที่ประกอบอาชีพเป็นชาวประมงที่เดินเรือ โดยส่วนใหญ่ชาวไทยมักเข้าใจผิดว่าจุ้ยบ้วยเนี้ยกับม่าจ้อโป๋เป็นองค์เดียวกัน จึงนิยมเรียกรวมกันว่า เจ้าแม่ทับทิม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วตามความเชื่อของจีนเป็นคนละองค์กัน โดยศาลเจ้าของจุ้ยบ้วยเนี้ย เฉพาะในประเทศไทยมีกันหลายแห่ง ที่โด่งดังมีชื่อเสียง ได้แก่ ศาลเจ้าจุ้ยโบเนี้ยว เชิงสะพานซังฮี้ , เป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมที่มีความเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย โดยสร้างแม่ทับทิมท่าฉลอม ท่าฉลอม เป็นต้น ขณะที่ศาลเจ้าแม่ทับทิม เชิงสะพานพระปกเกล้า ย่านพาหุรัด, ศาลเจ้าแม่ทับทิม สะพานเหลือง สามย่าน เป็นศาลของม่าจ้อโป๋ หรือเทียนโหวเซี้ยบ้อ ซึ่งเป็นเทพคนละองค์กับจุ้ยบ้วยเนี้ย มีศัพท์เพียง 2 คำที่ได้บัญญัติความหมายใช้เรียกชาวจีนโพ้นทะเลอย่างเป็นทางการ ได้แก่ หัวเฉียว huáqiáo (华侨 / 華僑) หมายถึงชาวจีนโพ้นทะเลที่เกิดในประเทศจีน ในขณะที่ หัวอี้ huáyì (华裔…

Continue Reading

จือนฺหวี่

จือนฺหวี่ (จีนตัวย่อ 织女 จีนตัวเต็ม 織女 พินอิน Zhīnǚ) เป็นธิดาลำดับที่ 7 ของซีหวังหมู่กับเง็กเซียนฮ่องเต้เมื่อครั้งสร้างโลก ท้องฟ้าแจ่มใส ไม่มีเมฆแม้แต่ก้อนเดียว เง็กเซียนฮ่องเต้รู้สึกว่าท้องฟ้าขาดสีสัน จึงสั่งให้เทพธิดาทั้งเจ็ดทอผ้าและตัดเสื้อให้ท้องฟ้าใส่ แต่ผ้าที่ธิดาทั้งเจ็ดทอออกมานั้นมีแต่สีเทาและสีขาวเท่านั้น ธิดาองค์เล็กเป็นคนฉลาด นางได้พบดอกไม้เจ็ดสีในสวน จึงเด็ดไปทำเป็นสีย้อมผ้า ทำให้ผ้าที่ทอออกมามีสีสันสวยงาม เหล่าพี่น้องทั้ง 6 คนต่างดีใจกันอย่างยิ่ง และตกลงกันว่า วันธรรมดาจะให้ท้องฟ้าสวมเสื้อสีขาว ถ้าฝนตกก็จะเปลี่ยนเป็นเสื้อสีเทา ยามเช้าและยามเย็นจะสวมเสื้อเจ็ดสี เง็กเซียนฮ่องเต้ทรงทราบแล้วรู้สึกดีพระทัยมาก และประทานนามธิดาองค์สุดท้องว่า”จือนฺหวี่”แปลว่า สาวทอผ้า องค์ที่ 1 สมัยก่อนมีขุนนางตงฉินและกังฉินซึ่งทั้งสองบ้านอยู่ใกล้กัน ขุนนางตงฉินนั้นมีภรรยาและลูกสาวลูกชายอย่างละ 1 คน และมักโดนขุนนางกังฉินใส่ความอยู่เป็นประจำ วันหนึ่งลูกชายของขุนนางตงฉินเล่นว่าวอยู่ในสวนบ้านตัวเอง พร้อมๆกับบ่าวของขุนนางกังฉินที่เล่นว่าวบนดาดฟ้าของบ้านนั้น ด้านบ่าวของขุนนางกังฉินพลาดท่าตกลงมาตายเอง แต่ขุนนางกังฉินก็ใส่ความว่าลูกของขุนนางตงฉินนั้นเป็นเหตุพร้อมทั้งให้ลงโทษด้วยการฝังทั้งเป็นพร้อมกับบ่าวของเค้า (คือสมัยนั้นขุนนางกังฉินเป็นที่โปรดปรานของฮ่องเต้มาก เลยมีอำนาจสูง) ฝ่ายลูกชายก็ถูกจับนอนในโลงศพ และมีขบวนคนนำไปฝัง แต่สวรรค์คุ้มครอง เกิดเป็นลมพายุพัดทั้งขบวนตกลงไปในเหวตายหมดยกเว้นลูกชายขุนนางตงฉินที่รอดมาได้ ฝ่ายลูกชายพอรอดมาก็กลัวที่จะกลับไปอีกจึงสร้างกระท่อมอาศัยในป่าลึกแทน แต่ทุกครั้งที่คิดถึงครอบครัวก็จะสวดภาวนาคำที่แม่เคยสอนไว้ว่า “นะโมพุทธะ” ต่อหน้ารูปวาดพ่อแม่ตัวเองที่วาดเองบนผนังถ้ำ และประทังชีวิตด้วยการเก็บพืชสมุนไพรไปขอแลกอาหารจากนายพราน jumbo jili ฝ่ายพ่อพอคิดว่าลูกชายของตนเองนั้นตาย ก็ลาออกและเดินทางกลับบ้านเกิด ระหว่างทางก็ยังไม่วายโดนปลอมแปลงราชการให้เนรเทศสองผัวเมียไปอยู่ที่ชายแดน ทิ้งให้ลูกสาวที่เหลืออยู่คนเดียวรับชะตากรรม ฝ่ายลูกสาว (ตอนนั้นก็อายุประมาณ 12-13…

Continue Reading

จิงเว่ย

จิงเว่ย (จีนตัวย่อ 精卫 จีนตัวเต็ม 精衛 พินอิน jīngwèi) คือชื่อของตัวละครในตำนานจีน เธอเป็นบุตรีของจักรพรรดิเอี๋ยนตี้ มีนามเดิมว่า หนี่ว์วา เธอต้องการให้พระบิดาพาไปชมพระอาทิตย์ขึ้น ณ ทะเลตะวันออกแต่พระบิดาทรงติดงานราชกิจจึงไม่สามารถตอบสนองต่อคำขอของเธอได้ เธอจึงแอบพายเรือหนีไปเที่ยวคนเดียวและถูกคลื่นพายุซัดเรืออับปาง ส่วนร่างของเธอจมลงสู่ใต้ทะเลและเกิดใหม่เป็นนกนาม จิงเว่ย คอยคาบหินก้อนเล็ก กิ่งไม้ และเมล็ดพืชจากเขาฟาจิวที่เธออาศัยอยู่ บินไปทิ้งยังท้องทะเลตะวันออก เพื่อหวังจะถมทะเลให้เต็ม เพื่อเป็นการแก้แค้นที่ท้องทะเลพรากชีวิตวัยเยาว์ของเธอไป ครั้งหนึ่งเธอเคยสนทนากับท้องทะเลโดยท้องทะเลกล่าวกับเธอว่าถึงแม้เธอจะทำแบบนี้ไปอีกสักล้านปีก็คงไม่สำเร็จ แต่เธอก็โต้ตอบกลับไปว่าต่อให้เธอต้องทำเช่นนี้ไปอีกร้อยล้านปี หรือจนวันที่โลกแตกสลายเธอก็จะไม่หยุดทำ เพื่อที่มิให้หนุ่มสาวอื่น ๆ ต้องมาจบชีวิตลงในทะเลอย่างที่เธอประสบ เรื่องราวของเธอทำให้เกิดสำนวน จิงเว่ยถมทะเล (จีน 精卫填海 พินอิน jīng wèi tián hǎi) อันหมายถึงความเพียรพยายามที่จะทำเรื่องที่ต้องการให้ประสบผลสำเร็จ แมลงDrosophilaสายพันธุ์ใหม่ถูกตั้งชื่อตามชื่อของจิงเว่ยโดยศาสตราจารย์ Manyuan Long จากมหาวิทยาลัยชิคาโก เนื่องจากมันกลายพันธุ์มามีโครงสร้างและรูปร่างเหมือนจิงเว่ยพายุ (Storms) เกิดจากแรงดันในอากาศต่ำลงมากกว่าในบริเวณรอบๆ พื้นที่หนึ่ง พร้อมกับมีแรงดันอากาศสูงเกิดขึ้นรอบ ๆ พื้นที่นั้น การรวมของแรงปะทะต่าง ๆ ก่อให้เกิดลม อันส่งผลให้เกิด การเคลื่อนตัวเปลี่ยนรูปของพายุเมฆ เช่น สภาพที่เรียกว่า cumulonimbus ซึ่งเป็นในรูปแบบก้อนเมฆดำทะมึนหนาทึบอันเต็มไปด้วยประจุไฟฟ้าที่ก่อให้เกิดฝนฟ้าคะนอง jumbo…

Continue Reading

จักรพรรดินีเจียง

จักรพรรดินีเจียง (จีน 姜皇后 พินอิน Empress Jiang) เป็นพระอัครมเหสีของพระเจ้าชางโจ้ว แห่งราชวงศ์ชางปรากฏในวรรณกรรมจีนเรื่องห้องสิน หลังจากนางต๋าจี่ ซึ่งถูกปิศาจจิ้งจอกเข้าสิงร่างและได้ถวายตัวเป็นพระสนมในพระเจ้าชางโจ้วแล้ว ได้ถูกพระสนมต๋าจี่ใส่ความว่าเป็นกบฎต่อพระเจ้าชางโจ้วและต้องโทษควักดวงพระเนตรถึงแก่สิ้นพระชนม์ หลังจากเสร็จศึกในเรื่องห้องสินแล้ว เจียง จื่อหยาได้รับโองการสวรรค์จากหยวนสื่อเทียนจุน (元始天尊)สถาปนาได้เป็น ไท้อิมแชกุน หรือ ราชินีพระจันทร์มีหน้าที่รักษาดวงจันทร์ โดยได้รับการสักการะบูชาต่อมาในลัทธิเต๋า, ศาสนาพื้นบ้านจีน, ลัทธิขงจื๊อ และเทศกาลไหว้พระจันทร์ .วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา เทศกาลไหว้พระจันทร์ หรือ เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง (อังกฤษ Moon Festival, Mid-Autumn Festival จีนตัวเต็ม 中秋節 จีนตัวย่อ 中秋节 พินอิน zhōngqiū jié เวียดนาม Tết Trung Thu) เป็นเทศกาลตามวัฒนธรรมจีนที่มีขึ้นในกลางฤดูใบไม้ร่วง เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว จะมีขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ (กันยายนตามปฏิทินสากล) ในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะเฉลิมฉลองด้วยการไหว้ดวงจันทร์ในเวลากลาคืน ในบางประเทศ เช่น สิงคโปร์ หรือเวียดนาม จะจัดเป็นประเพณีใหญ่ มีการเฉลิมฉลองด้วยโคมไฟสีแดง เป็นสีสันยามค่ำคืน หรือบางแห่งอาจมีการเชิดมังกร…

Continue Reading

เง็กเซียนฮ่องเต้

เง็กเซียนฮ่องเต้ เป็นเทพเจ้าสูงสุดของจีน เทวรูปและรูปวาดขององค์เง็กเซียนฮ่องเต้จะทรงฉลองพระองค์เช่นเดียวกับจักรพรรดิจีน คือมีพระมาลา ด้านหน้ามีเส้นร้อยไข่มุกเป็นแถวห้อยลงมาหน้าพระพักตร์ พระหัตถ์ทรงพระป้ายซือฮุดหน้าพระอุระ ด้านหลังมีพนักงานสองคนคอยโบกพัด ด้านหน้ามีองครักษ์สององค์ทั้งฝ่ายบู๊และฝ่ายบุ๋น พระองค์ทรงได้รับการยกย่องให้เป็นเทพเจ้าสูงสุดตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๔ เป็นต้นมาคำว่า เง็กเซียนฮ่องเต้ คนคนไทยเรียกกันเกิดจากการผสมภาษาจีนระหว่าง 2 สำเนียง คือ ฮกเกี้ยนกับแต่จิ๋ว คือ เง็ก (แต้จิ๋ว) เซียน (ฮกเกี้ยน) ฮ่องเต้ (ฮกเกี้ยน) ชื่อ เง็กเซียนฮ่องเต้ นี้เป็นการเรียกแบบไทย ชาวจีนโดยส่วนมากเรียก อวี่หวงต้าตี้ (ตัวเต็ม 玉皇大帝, ตัวย่อ 玉皇大帝, พินอิน Yù huáng dà dì , ฮกเกี้ยน หยกฮ่องไต่เต่,สำเนียงแต้จิ๋วเง็กอ้วงไต่ตี่ ) หรือ อวี่หวงซ่างตี้ (ตัวเต็ม 玉皇上帝, ตัวย่อ 玉皇上帝, พินอิน Yù huáng sháng dì , ฮกเกี้ยน หยกอ๋องส่องเต่,สำเนียงแต้จิ๋วเง็กอ้วงเซี่ยงตี่ ) แปลว่า จักรพรรดิหยก หรือ…

Continue Reading

ก้งกง

ก้งกง (จีน 共工 พินอิน Gònggōng) เป็นเทพแห่งน้ำซึ่งเรื่องปรัมปราและเรื่องเล่าพื้นบ้านของจีนว่า มีตัวเป็นงูหรือมังกร มีหัวเป็นคน มีผมสีแดง หรือมีตัวและหัวเป็นคน มีหางเป็นงูหรือมังกร มักก่อความเดือดร้อน และเป็นต้นเหตุแห่งภัยพิบัติต่าง ๆ ที่สุดแล้วไปสู้รบกับเทวดาหลายองค์ ซึ่งรวมถึงจู้หรง (祝融) เทพแห่งไฟ แล้วพ่ายแพ้ จึงถูกฆ่าตายหรือถูกอัปเปหิ ก้งกงเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่ก่อนปีที่ 221 ก่อนคริสตกาล ซึ่งตรงกับปลายยุครณรัฐ (戰國時代) บทร้อยกรองชื่อ เทียนเวิ่น (天問 ถามฟ้า) ซึ่งรวมอยู่ในหนังสือ ฉู่ฉือ (楚辭 คำของฉู่) ระบุว่า ก้งกงทำแกนโลกหัก ทำให้โลกเอียงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ และทำให้ท้องฟ้าเอียงไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ความเชื่อเรื่องนี้ใช้อธิบายว่า ทำไมแม่น้ำในประเทศจีน เช่น ฉางเจียง (長江 แม่น้ำยาว) และหฺวังเหอ (黃河 แม่น้ำเหลือง) มักไหลไปทางตะวันออกเฉียงใต้ และทำไมดวงตะวัน ดวงจันทร์ และดวงดาว มักเคลื่อนไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ jumbo jili งานเขียนในสมัยราชวงศ์ฮั่น (漢朝) เริ่มใส่รายละเอียดให้แก่เรื่องของก้งกง บันทึกเรื่องปรัมปราหลายฉบับกล่าวว่า ก้งกง กับลูกน้อง คือ…

Continue Reading

เหอเซียนกู

เหอเซียนกู (จีน 何仙姑 พินอิน Hé Xiāngū นางฟ้าเหอ) ชื่อจริงว่า เหอ ฉฺยง (何瓊) เป็นบุคคลในประมวลเรื่องปรัมปราจีน ลัทธิเต๋าจัดเข้าเป็นเซียนองค์หนึ่งในกลุ่มโป๊ยเซียน (แปดเซียน) โดยเป็นสตรีหนึ่งเดียวในกลุ่มดังกล่าว เอกสาร เซียนฝัวฉีจง (仙佛奇蹤) ว่า นางเป็นบุตรหญิงของเหอ ไท่ (何泰) ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ที่เจิงเฉิง (增城) ในกวั่งตง (广东) เมื่อนางเกิด มีผมยาว 6 เส้นอยู่บนกระหม่อม ครั้นนางอายุได้ 16 ปี นางฝันว่า เทวดาองค์หนึ่งมาบอกว่า บริโภคผง ยฺหวินหมู่ (雲母) คือ หินไมกาที่บดเป็นผง แล้วจะเป็นอมตะ นางก็ปฏิบัติตาม ทั้งยังรักษาพรหมจรรย์ และถือศีลอดแบบพี่กู่ (辟穀) คือ งดบริโภคธัญพืชบางประเภท ต่อมา พระนางอู่ เจ๋อเทียน (武則天) รับสั่งเรียกนางเข้าราชสำนัก แต่นางหายตัวไประหว่างเดินทาง ภายหลัง นางได้กลายเป็นเซียนและขึ้นสวรรค์ไป ณ วันหนึ่งในปีจิ่งหลง (景龍 คือ ช่วง…

Continue Reading

หลี่เถียไกว่

หลี่เถียไกว่ (จีน 李鐵拐 พินอิน Lǐ Tiěguǎi หลี่ไม้เท้าเหล็ก) เป็นบุคคลในประมวลเรื่องปรัมปราจีน ลัทธิเต๋าจัดเข้าเป็นเซียนองค์หนึ่งในกลุ่มโป๊ยเซียน (แปดเซียน) ได้รับการพรรณนาว่า เป็นบุคคลอารมณ์ร้อน แต่มีเมตตาต่อผู้ยากไร้หรือเจ็บป่วย และมักปรุงยาวิเศษด้วยน้ำเต้า นอกจากนี้ ยังได้รับการแสดงภาพเป็นชายแก่อัปลักษณ์ หนวดเครารุงรัง ผมเผ้ายุ่งเหยิง สวมมงคลทองคำบนศีรษะ ถือไม้เท้าเหล็กอันหนึ่ง และถือหรือสะพายน้ำเต้าลูกหนึ่ง อนึ่ง ยังมีการพรรณนาว่า เขาจุติลงมายังโลกมนุษย์ในร่างขอทาน แล้วใช้อำนาจวิเศษช่วยเหลือผู้เข็ญใจหรือถูกกดขี่ตำนานว่า หลี่เกิดในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ช่วงราชวงศ์ยฺเหวียน (ค.ศ. 1279–1368) และมีชื่อจริงว่า หลี่ เสฺวียน (李玄) แต่บางตำนานก็ว่า เขาเป็นศิษย์ของเหลาจึ (老子 ครูเฒ่า) ซึ่งหมายความว่า เขามีชีวิตอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 6ราชวงศ์หยวน (จีน 元朝 พินอิน Yuáncháo หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 – 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีนชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ…

Continue Reading

ลฺหวี่ ต้งปิน

ลฺหวี่ ต้งปิน (จีน 呂洞賓 พินอิน Lǚ Dòngbīn ค.ศ. 796–1016) เป็นบัณฑิต กวี และนักเล่นแร่แปรธาตุในช่วงราชวงศ์ถัง ซึ่งได้รับการยกย่องให้เป็นเซียนในประมวลเรื่องปรัมปราจีน ลัทธิเต๋าจัดเข้าเป็นเซียนองค์หนึ่งในกลุ่มโป๊ยเซียน (แปดเซียน) และมักแสดงภาพว่า เป็นบัณฑิตชาย เหน็บกระบี่กายสิทธิ์ไว้ที่หลัง กระบี่นี้มีอำนาจขับไล่ภูตผีปิศาจลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (จีน 道教 Dàojiao อังกฤษ Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้ลัทธิเต๋าในแต่ละนิกายจะมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ อู๋เว่ย หรือ ความไร้เจตนา ความเป็นธรรมชาติ และความเรียบง่าย กับสมบัติสามประการ ได้แก่ 慈 ความเมตตา 儉 ความมัธยัสถ์ และ 不敢為天下先 ความอ่อนน้อมถ่อมตน jumbo jili ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ…

Continue Reading

โป๊ยเซียน (เทพเจ้าจีน)

โป๊ยเซียน หรือสำเนียงมาตรฐานว่า ปาเซียน (จีน 八仙 พินอิน Bāxiān) แปลว่า แปดเซียน เป็นเซียนกลุ่มหนึ่งในประมวลเรื่องปรัมปราจีน เป็นที่นับถือในลัทธิเต๋า และมีชื่อเสียงมาช้านาน เซียนทั้งแปดนี้ เชื่อว่า ส่วนใหญ่เป็นบุคคลที่มีชีวิตอยู่ในราชวงศ์ชางหรือราชวงศ์ถัง ทั้งยังเชื่อว่า อาศัยอยู่ด้วยกัน ณ หมู่เกาะหมู่หนึ่งในทะเลปั๋ว (渤海) โดยเฉพาะที่ภูเขาเผิงไหล (蓬萊) และมักได้รับการแสดงภาพเป็นกลุ่มบุคคลที่นั่งเรือกลับจากงานประชุมท้อสวรรค์ (蟠桃會)บ้านแบบฮั่นแตกต่างจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ชาวฮั่นในปักกิ่งอาศัยรวมกันทั้งครอบครัวในบ้านหลังใหญ่ที่มีลักษณะสี่เหลี่ยม บ้านแบบนี้เรียกว่า 四合院 บ้านเหล่านี้มีสี่ห้องทางด้านหน้าได้แก่ ห้องรับแขก, ครัว, ห้องน้ำ และส่วนของคนรับใช้ ข้ามจากประตูคู่บานใหญ่คือส่วนสำหรับผู้สูงอายุในครอบครัว ส่วนนี้ประกอบด้วยสามห้อง ห้องกลางสำหรับสักการะแผ่นจารึก 4 แผ่นได้แก่ สวรรค์, โลกมนุษย์, บรรพบุรุษ และอาจารย์ มีสองห้องที่อยู่ติดทางด้านซ้ายและขวาเป็นห้องนอนสำหรับปู่ย่าตายาย ส่วนด้านตะวันออกของบ้านสำหรับลูกชายคนโตกับครอบครัว ในขณะที่ด้านตะวันตกสำหรับลูกชายคนรองกับครอบครัว แต่ละด้านมีเฉลียงบางบ้านมีห้องรับแสงแดดสร้างจากผ้ามีโครงเป็นไม้หรือไม้ไผ่ ทุก ๆ ด้านของบ้านสร้างอยู่ล้อมรอบลานบ้านตรงกลางสำหรับเล่าเรียน, ออกกำลังกายหรือชมวิวธรรมชาติ jumbo jili ฮั่น แนวคิดที่เปลี่ยนไปมา คำจำกัดความของความเป็นฮั่นนั้นได้เปลี่ยนแปลงไปตลอดช่วงประวัติศาสตร์ ก่อนศตวรรษที่ 20 กลุ่มคนที่พูดภาษาอื่นบางกลุ่ม เช่น ฮากกา และ…

Continue Reading