เทพธิดาหมากู หรือ เจ้าแม่มั่วโกว (จีน 麻姑อังกฤษ Ma_Gu) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีน เทพธิดาหมากู เป็นชื่อนางฟ้าที่มีชื่อเสียงมากที่สุดองค์หนึ่งของจีน เป็นนางฟ้าที่มีที่มาจากคติลัทธิเต๋า ภาพลักษณ์ของหมากูจึงเป็นนางฟ้าผู้เลอโฉม ที่คงความงามและสดสวยอยู่ตลอดกาล การส่งมอบรูปวาดของหมากูจึงเป็นที่พึงใจของผู้รับเป็นยิ่งนัก เพราะเป็นเสมือนการอวยพรชมเชยให้เธอมีความงามอันเป็นอมตะดังนางฟ้าหมากู (ด้วยเหตุนี้ การมอบรูปหมากูเป็นของขวัญหรือภาพอวยพรจะต้องใช้กับผู้หญิงเท่านั้น ห้ามใช้กับผู้ชายเป็นอันขาด) และพระนางยัง ปรากฏกูตอนเหตุการณ์ตอนอวยพรวันเกิดเจ้าแม่ซีหวังหมู่ ในทุกวันที่ 3 เดือน 3 ของทุกปี (ตามปฏิทินจันทรคติจีน)ซึ่งเป็นวันเกิดของเจ้าแม่ซีหวังหมู่ ไม่ว่าหมากูจะอยู่ ณ ที่ใด เมื่อถึงวันดังกล่าวก็จะรีบเร่งกลับมาให้ทันวันเกิดของพระนางทุก ๆ ครั้ง หมากูจะเตรียมของขวัญอันล้ำเลิศไปถวายให้ นั้นคือ ผลท้อใบใหญ่ และสุราหลิงจือ ที่มีรสชาติกลมกล่อมเหนือกว่าสุรารสเลิศใด ๆภาษาจีน (汉语 – 漢語 – Hànyǔ – ฮั่นอวี่, 华语 – 華語 – Huáyǔ – หัวอวี่ หรือ 中文 – Zhōngwén – จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ…
Day: November 8, 2021
เจ้าแม่จูแซเนี้ย
จูแซเนี้ย (จีน 註生娘娘 พินอิน Zhù shēng niángniáng เป๊ะห์โอยจี Tsù-senn-niû-niû) หรือ เจ้าแม่ประทานบุตร คนฮกเกี้ยนนิยมขนาดนามท่านแบบลำลองว่า จูแซม่า (จีน 註生媽 เป๊ะห์โอยจี Tsù-senn-ma) เทพเจ้าที่ดูแลเรื่องการกำเนิดบุตรของชาวฮกเกี้ยน ไต้หวัน และ แต้จิ๋ เจ้าแม่ประทานบุตร สมัยโบราณ การแพทย์ยังไม่เจริญเติบโต การเกิดจึงเป็นเรื่องอันตรายและในทัศนคติด้านจริยธรรมของจีน ผู้หญิงหากไม่สามารถให้กำเนิดบุตรชาย ก็จะถูกดูแคลนหรือเพิกเฉย หรืออาจจะถูกขับไล่ให้กลับไปอยู่บ้านแม่ของตน ด้วนเหตุนี้เจ้าแม่กำเนิดจึงกลายเป็นเทพที่มีความสำคัญและเป็นที่เคารพยิ่งของหญิงทั้งหลาย เพื่ออธิษฐานขอให้ตนเองได้บุตรชายและขอให้ตน คลอดอย่างปลอดภัยฮกโล่ (ภาษาแคะ 福佬, พินอิน fúlǎo, แป่ะเอ่ยี้ Hok-ló) เรียกตัวเองว่า ฮกเกี้ยน (ภาษาหมิ่นใต้ 福建, แป่ะเอ่ยี้ Hok-kiàn) หรืออีกอย่างว่า บั่นลั้ม (ภาษาหมิ่นใต้ 閩南, แป่ะเอ่ยี้ Bân-lâm, พินอิน mǐnnán คนไทยรู้จักในสำเนียงจีนกลางว่า หมิ่นหนาน) หมายถึง ชนเผ่าจีนที่มีถิ่นฐานตั้งอยู่ในมณฑลฮกเกี้ยนหรือมณฑลฝูเจี้ยนทางตอนใต้ของจีน เป็นหนึ่งในชนเผ่าจีนโพ้นทะเล มีจำนวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นประชากรส่วนใหญ่ของภูเก็ต ตรัง สตูล…
เจ้าแม่เก้าเทียงเหี่ยงนึ่ง
กิวเทียนเหี่ยงนึ่ง หรือ จิ่วเทียนเสวียนนี่ (จีน 九天玄女, อังกฤษ Xuan Nü) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีนและเป็นนิยมบูชาในลัทธิเต๋ กิวเทียนเหี่ยงนึ่งกิวเทียงเนี่ยเนี้ย เป็นเทพสตรีที่สำคัญในศาสนาเต๋า เป็นเทวนารีที่ปรากฏแต่โบราณกาลของจีน ในตำนานโบราณกล่าวว่า เง็กเซียนฮ่องเต้ ได้มีพระราชโองการแต่งตั้ง ให้สมญานามว่า “กิวเทียงเหี่ยงนึ่ง” หมายถึง เทพสตรีผู้ศักดิ์สิทธิ์ในสวรรค์ทั้ง 9 ชั้น หรือ “กิวเทียงเซี้ยบ้อ” ตามตำนานจีนโบราณระบุว่าทรงเป็นผู้ประทานกำเนิดแห่งราชวงศ์ซาง คือ มีหญิงสาวคนหนึ่งนามว่า เจียนตี๋ วันหนึ่งเธอไปเดินเล่นริมทะเล นกนางแอ่นสีดำตัวหนึ่งได้ปากฏตัวขึ้นและไข่ให้เธอกิน ก่อนที่จะบินลับขอบฟ้าไป เมื่อเจียนตี๋ได้กินไข่นกนั้นเข้าไปเธอจึงตั้งครรภ์ และได้ให้กำเนิดองค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซาง โดยกล่าวไว้ว่านกนางแอ่นสีดำคือองค์กิ้วเที้ยนเฮี้ยนลื้อ และในตำนานยังปรากฏว่า เหี่ยงนึ่งได้ช่วยเหลือกษัตริย์อึ่งตี่ ในการต่อสู้กับข้าศึกที่ชื่อ ชีอิ๊วเหี่ยงนึ่ง ได้แปลงเป็นนกนางแอ่น แม้ว่าจะไม่สามารถกลับสภาพดังเดิมได้ แต่ก็สามารถแปลงกลับมาในรูปครึ่งเทพครึ่งนก และที่สำคัญคือได้ช่วยเหลือให้กษัตริย์รอดพ้นจากภัยพิบัติได้จากสงคราม ในปัจจุบัน ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย มีสัดส่วนเป็นจำนวนมากถึง 12% (พ.ศ. 2546) ของประชากรทั้งประเทศ ส่วนมากอาศัยอยู่ในเมือง ประกอบอาชีพค้าขาย นอกจากนี้ยังแทรกซึมอยู่ในทุกวงการ อีกทั้งยังเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง นักการเมือง รวมทั้งเชื้อพระวงศ์ก็ยังมีเชื้อสายจีนด้วย jumbo jili เหตุที่ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย สามารถผสมกลมกลืนกับชาวไทยได้ดียิ่ง ก็เพราะการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ แม้ในสมัยก่อนจะมีในอัตราน้อย…
เจ็ดนางฟ้า
เจ็ดนางฟ้า เป็นตำนานปรัมปราของจีนว่าด้วยงานประเพณีใน วันที่ 7 เดือน 7 (จีน 七夕 พินอิน qī xī แปลว่า ราตรีแห่งเลขเจ็ด) ตามปฏิทินแบบจีน เป็นที่มาของประเพณี ทานาบาตะ ในญี่ปุ่น และประเพณี Chilseok (칠석) ในเกาหลี ซึ่งมีการโยงตำนานนี้กับสถานที่ในภูเขาคึมกังซาน (ภูเขาเพชร) ที่ว่ากันว่าเป็นจุดที่นางฟ้าลงมาเล่นน้ำด้วย เทศกาลวันดังกล่าวเปรียบได้ว่าเป็นวันแห่งความรักในประเพณีจีน ช่วงเวลาแห่งประเพณีนี้คือเมื่อดวงดาวในสามเหลี่ยมฤดูร้อนโคจรขึ้นสูงเหนือศีรษะ ดาวสำคัญในสามเหลี่ยมฤดูร้อนที่เกี่ยวข้องกับตำนานนี้ คือดาวอัลแทร์ และดาวเวกา นักวิชาการส่วนหนึ่งเชื่อว่า ตำนานเจ็ดนางฟ้าของจีนนี้ (ซึ่งเล่าขานกันในเกาหลี เวียดนาม และญี่ปุ่นด้วย) สามารถสืบกันได้กับนิทานเรื่องพระสุธนมโนห์รา ซึ่งเล่ากันแพร่หลายในไทย ลาว และอินโดนีเซีย โดยมีแก่นเรื่องคล้ายคลึงกันและทำให้เห็นได้ว่า น่าจะมาจากแหล่งเดียวกัน กล่าวคือ เป็นเรื่องของผู้หญิงเจ็ดคน (หรือแปดคนในตำนานบางฉบับของเกาหลี) ที่มีความสามารถมากกว่ามนุษย์ คือ บินได้ด้วยเครื่องช่วยบางอย่าง (ปีกและหางของกินรี และอาภรณ์เทพธิดาของนางฟ้าทั้งเจ็ด) ลงมายังโลกมนุษย์เพื่อเล่นน้ำ น้องสาวคนเล็กสุดและสวยที่สุดของนางเหล่านี้ถูกมนุษย์ผู้ชายจับได้และยึดอุปกรณ์ช่วยบินไว้ (ในบางตำนาน ผู้จับได้เป็นตัวพระเอกเอง บางตำนานเป็นนายพรานซึ่งนำไปถวายพระเอกที่เป็นเจ้าเหนือหัวของตน) นางเอกจึงยอมแต่งงานกับมนุษย์ แต่ต่อมามีเหตุให้นางเอกต้องใช้อุปกรณ์ทิพย์บินหนีจากโลกมนุษย์คืนไปสู่ถิ่นเดิมของนาง และพระเอกต้องเริ่มต้นผจญภัยเพื่อตามหาตัวนางคืน เรื่องดังกล่าวมีจารึกเป็นภาพสลักไว้ที่ บุโรพุทโธ ในอินโดนีเซีย เนื่องจากเชื่อว่าเป็นอดีตชาติหนึ่งของพระพุทธเจ้า…
จุ้ยบ้วยเนี้ย
จุ้ยบ้วยเนี้ย (จีน 水尾聖娘 พินอิน Shuǐ wěi shèng niáng) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีน จุ้ยบ้วยเนี้ย หรือแปลตรงตัวได้ว่า เจ้าแม่ท้ายน้ำ หรือที่ชาวไทยรู้จักกันในนาม เจ้าแม่ทับทิม เป็นเทวนารี ที่รู้จักและนิยมบูชาเช่นเดียวกับม่าจ้อโป๋ หรือไฮตังม่า เป็นเทพเจ้าที่ได้รับความเคารพในหมู่ของชาวฮกเกี้ยน และ ชาวไหหลำ และชาวจีนโพ้นทะเล ที่ประกอบอาชีพเป็นชาวประมงที่เดินเรือ โดยส่วนใหญ่ชาวไทยมักเข้าใจผิดว่าจุ้ยบ้วยเนี้ยกับม่าจ้อโป๋เป็นองค์เดียวกัน จึงนิยมเรียกรวมกันว่า เจ้าแม่ทับทิม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วตามความเชื่อของจีนเป็นคนละองค์กัน โดยศาลเจ้าของจุ้ยบ้วยเนี้ย เฉพาะในประเทศไทยมีกันหลายแห่ง ที่โด่งดังมีชื่อเสียง ได้แก่ ศาลเจ้าจุ้ยโบเนี้ยว เชิงสะพานซังฮี้ , เป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมที่มีความเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย โดยสร้างแม่ทับทิมท่าฉลอม ท่าฉลอม เป็นต้น ขณะที่ศาลเจ้าแม่ทับทิม เชิงสะพานพระปกเกล้า ย่านพาหุรัด, ศาลเจ้าแม่ทับทิม สะพานเหลือง สามย่าน เป็นศาลของม่าจ้อโป๋ หรือเทียนโหวเซี้ยบ้อ ซึ่งเป็นเทพคนละองค์กับจุ้ยบ้วยเนี้ย มีศัพท์เพียง 2 คำที่ได้บัญญัติความหมายใช้เรียกชาวจีนโพ้นทะเลอย่างเป็นทางการ ได้แก่ หัวเฉียว huáqiáo (华侨 / 華僑) หมายถึงชาวจีนโพ้นทะเลที่เกิดในประเทศจีน ในขณะที่ หัวอี้ huáyì (华裔…
จือนฺหวี่
จือนฺหวี่ (จีนตัวย่อ 织女 จีนตัวเต็ม 織女 พินอิน Zhīnǚ) เป็นธิดาลำดับที่ 7 ของซีหวังหมู่กับเง็กเซียนฮ่องเต้เมื่อครั้งสร้างโลก ท้องฟ้าแจ่มใส ไม่มีเมฆแม้แต่ก้อนเดียว เง็กเซียนฮ่องเต้รู้สึกว่าท้องฟ้าขาดสีสัน จึงสั่งให้เทพธิดาทั้งเจ็ดทอผ้าและตัดเสื้อให้ท้องฟ้าใส่ แต่ผ้าที่ธิดาทั้งเจ็ดทอออกมานั้นมีแต่สีเทาและสีขาวเท่านั้น ธิดาองค์เล็กเป็นคนฉลาด นางได้พบดอกไม้เจ็ดสีในสวน จึงเด็ดไปทำเป็นสีย้อมผ้า ทำให้ผ้าที่ทอออกมามีสีสันสวยงาม เหล่าพี่น้องทั้ง 6 คนต่างดีใจกันอย่างยิ่ง และตกลงกันว่า วันธรรมดาจะให้ท้องฟ้าสวมเสื้อสีขาว ถ้าฝนตกก็จะเปลี่ยนเป็นเสื้อสีเทา ยามเช้าและยามเย็นจะสวมเสื้อเจ็ดสี เง็กเซียนฮ่องเต้ทรงทราบแล้วรู้สึกดีพระทัยมาก และประทานนามธิดาองค์สุดท้องว่า”จือนฺหวี่”แปลว่า สาวทอผ้า องค์ที่ 1 สมัยก่อนมีขุนนางตงฉินและกังฉินซึ่งทั้งสองบ้านอยู่ใกล้กัน ขุนนางตงฉินนั้นมีภรรยาและลูกสาวลูกชายอย่างละ 1 คน และมักโดนขุนนางกังฉินใส่ความอยู่เป็นประจำ วันหนึ่งลูกชายของขุนนางตงฉินเล่นว่าวอยู่ในสวนบ้านตัวเอง พร้อมๆกับบ่าวของขุนนางกังฉินที่เล่นว่าวบนดาดฟ้าของบ้านนั้น ด้านบ่าวของขุนนางกังฉินพลาดท่าตกลงมาตายเอง แต่ขุนนางกังฉินก็ใส่ความว่าลูกของขุนนางตงฉินนั้นเป็นเหตุพร้อมทั้งให้ลงโทษด้วยการฝังทั้งเป็นพร้อมกับบ่าวของเค้า (คือสมัยนั้นขุนนางกังฉินเป็นที่โปรดปรานของฮ่องเต้มาก เลยมีอำนาจสูง) ฝ่ายลูกชายก็ถูกจับนอนในโลงศพ และมีขบวนคนนำไปฝัง แต่สวรรค์คุ้มครอง เกิดเป็นลมพายุพัดทั้งขบวนตกลงไปในเหวตายหมดยกเว้นลูกชายขุนนางตงฉินที่รอดมาได้ ฝ่ายลูกชายพอรอดมาก็กลัวที่จะกลับไปอีกจึงสร้างกระท่อมอาศัยในป่าลึกแทน แต่ทุกครั้งที่คิดถึงครอบครัวก็จะสวดภาวนาคำที่แม่เคยสอนไว้ว่า “นะโมพุทธะ” ต่อหน้ารูปวาดพ่อแม่ตัวเองที่วาดเองบนผนังถ้ำ และประทังชีวิตด้วยการเก็บพืชสมุนไพรไปขอแลกอาหารจากนายพราน jumbo jili ฝ่ายพ่อพอคิดว่าลูกชายของตนเองนั้นตาย ก็ลาออกและเดินทางกลับบ้านเกิด ระหว่างทางก็ยังไม่วายโดนปลอมแปลงราชการให้เนรเทศสองผัวเมียไปอยู่ที่ชายแดน ทิ้งให้ลูกสาวที่เหลืออยู่คนเดียวรับชะตากรรม ฝ่ายลูกสาว (ตอนนั้นก็อายุประมาณ 12-13…