เตียนฮู้หง่วนโส่ย

เตี่ยนฮู้หง่วนโส่ย (จีน 田都元帥) เป็นเทพเจ้าจีน โดยส่วนมากนับถือว่าเป็นเทพแห่งการศิลปะการแสดง โดยมีชีวิตอยู่จริงในสมัยราชวงศ์ถังในสมัยจักรพรรดิถังเสฺวียนจงและเป็นเทพเจ้าจีนที่รู้จักและนับถือมากในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดภูเก็ต เรียกท่านว่า (เล่าเอี๋ย)ราชวงศ์ซ่งใต้ (南宋) ก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าโก้ว (趙構) ชาวฮั่นซึ่งเป็นทายาทของตระกูลเจ้า ที่สืบทอดมาจากราชวงศ์ซ่งเหนือ ก่อตั้งราชธานีขึ้นในบริเวณดินแดนแถบเจียงหนาน (พื้นที่ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียง) เรียกว่าเมืองหลินอัน (臨安 ปัจจุบันคือเมืองหางโจว (หังโจว) ในมณฑลเจ้อเจียง) โดยเจ้าโก้วนั้นสถาปนาตนขึ้นเป็น ซ่งเกาจง (宋高宗) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ กระนั้นตลอดระยะเวลา 153 ปีของราชวงศ์ซ่งใต้ รวมฮ่องเต้ 9 พระองค์ ราชวงศ์นี้กลับตกอยู่ภายใต้การคุกคามของอาณาจักรจิน (คนไทยมักเรียกว่า “กิม”) โดยตลอด จนกระทั่งพบจุดจบภายใต้เงื้อมมือของชนเผ่ามองโกลความขัดแย้งภายในและความอ่อนแอของราชวงศ์ซ่งใต้อันเป็นมรดกตกทอดมาจากราชวงศ์ซ่งเหนือ ทำให้ตลอดเวลา 150 กว่าปีของราชวงศ์ซ่งใต้ ชาวฮั่นไม่มีโอกาสที่จะกลับไปยึดครองดินแดนทางภาคเหนือคืนได้อีกเลย โดยพรมแดนทางตอนเหนือสุดของราชวงศ์ซ่งใต้ที่ติดกับเขตแดนของอาณาจักรจินนั้นก็คือ เส้นลากจากแม่น้ำเว่ยสุ่ย (淮水) ผ่านสองเขต ถัง (唐 ปัจจุบันคือถังเหอ มณฑลเหอหนาน) และ เติ้ง (ปัจจุบันคือตำบลเติ้งตะวันออก ในมณฑลเหอหนาน) ไปสิ้นสุดที่ด่านฉินหลิงต้าซ่าน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในบริเวณมณฑลส่านซี ขณะที่พรมแดนทางด้านอื่นๆ นั้นยังคงเดิมเหมือนกับราชวงศ์ซ่งเหนือหลังจากกองทัพจินบุกเข้าเมืองไคฟงกวาดต้อน ซ่งฮุยจงและซ่งชินจง สองฮ่องเต้แห่งซ่งเหนือ รวมถึงเชื้อพระวงศ์ ไปเป็นเชลย อีกทั้งปล้นสะดมทรัพย์สินในท้องพระคลังไปจนหมดสิ้นจนกระทั่งราชวงศ์ซ่งเหนือล่มสลาย…

Continue Reading

เตียนบ๊อ

เจ้าแม่เตียนบ๊อ หรือ พระแม่เทียนมู่ (จีน 金光聖母, อังกฤษ Dian Mu) เป็นเทพธิดาแห่งสายฟ้า ตามความเชื่อปรัมปราของจีน โดยเป็นเทพนารีแห่งเสียงฟ้าร้อง โดยทำหน้าที่กับเทพลุ่ยกงลุ่ยกง หรือสำเนียงจีนกลางว่า เหล่ย์กง (จีน 雷公 พินอิน léi gōng เวด-ไจลส์ lei2 kung1 เจ้าสายฟ้า) หรือ เหล่ย์เฉิ่น (จีน 雷神 พินอิน léi shén อสุนีเทพ) เป็นเทพเจ้าแห่งสายฟ้า ตามความเชื่อปรัมปราของจีน โดยเป็นเทพผู้บันดาลให้ฝนตก โดยทำหน้าที่กับเทพเตียนบ๊อและยังเป็นหนึ่งในห้าแม่ทัพสวรรค์ร่วมกับ เอ้อร์หลัง เสิน นาจา คังหง่วนโส่ย จิ่วหง่วนโส่ย โดยเป็นแม่ทัพประจำทิศตะวันออก มีธงสีเขียวเป็นสีประจำกองทัพคุมกำลังทัพสวรรค์ 99,000 นาย ในการรักษาทิศทางของโลกมนุษย์และสวรรค์สมัยราชวงศ์ซ่ง (พ.ศ. 1503 – พ.ศ. 1812) เป็นช่วงที่การเมืองและการทหารของจีนค่อนข้างทรุดโทรม แต่เศรษฐกิจ การผลิตเครื่องศิลปหัตถกรรมและการค้าค่อนข้างพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี่ยิ่งได้รับการพัฒนาอย่างมาก ลักษณะพิเศษของ สถาปัตยกรรมในสมัยราชวงศ์ซ่งคือ มีขนาดไม่ใหญ่เท่าใดนัก แต่มีรูปร่างสวยมากแผนผังของเมืองสมัยราชวงศ์ซ่งคือ เปิดร้านค้าข้างถนน การดับเพลิง…

Continue Reading

ตี่จู๋เอี๊ยะ

ถู่ที้กง, โถ่วตีกง (จีน 土地公 เจ้าแห่งผืนดิน) หรือ ในภาษาจีนกลางเรียกว่า ถู่ตี้เฉิน (จีน 土地神 เจ้าแห่งผืนดิน) บางครั้งเรียกสั้น ๆ ว่า ถู่ตี้ (จีน 土地 ผืนดิน) หรือที่ชาวไทยเชื้อสายจีนเรียกกันว่า ตี่จู๋เอี๊ยะ (จีน 地主爷 เทพเจ้าแห่งผืนดิน) เป็นเทพเจ้าที่ของชุมชน ที่อยู่อาศัย หรือสถานที่ ตามความเชื่อของศาสนาพื้นบ้านจีนรวมทั้งชาวไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทยปัจจุบันเชื่อกันว่า เทพถู่ที้กงมีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์จิว ชื่อเดิมว่าเตียเม่งเต็ก เป็นข้ารับใช้ขุนนางผู้มั่งคั่งนายหนึ่ง ครั้งหนึ่งขุนนางท่านนั้นได้ถูกเรียกให้เข้ารับราชการที่วังหลวงอย่างกะทันหัน จึงได้รีบออกเดินทางไปพร้อมกับภรรยาของเขา และให้เตียเม่งเต็กนำธิดาของเขาตามไปในวังหลวงทีหลัง เตียเม่งเต็กได้ออกเดินทางโดยแบกธิดาของขุนนางไว้บนหลัง และในมือทั้งสองได้ถือข้าวของสัมพาระต่าง ๆ ระหว่างการเดินทางนั้นได้เกิดพายุหิมะถล่มขึ้น เตียเม่งเต็กจึงจำถอดเสื้อคลุมของเขาสวมให้กับธิดาของขุนนางที่แบกไว้บนหลังจนกระทั่งตนเองเสียชีวิตจากความหนาวเหน็บ หลังเตียเม่งเต็กได้เสียชีวิตลงด้วยความเสียสละและจงรักภักดีต่อเจ้านาย บนท้องฟ้าได้ปรากฏดวงดาวขึ้นมาเป็นอักษรใจความว่า ประตูสวรรค์ทางใต้ของเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ ฮกเต็ก ภายหลังได้มีผู้มาพบกับนางและได้ช่วยเหลือ นำไปส่งถึงครอบครัวโดยปลอดภัย หลังนางเติบโตขึ้นได้มีจิตใจกตัญญูต่อเตียเม่งเต็กและได้สร้างศาลเจ้าขึ้นเพื่อยกขึ้นเป็นเทพเจ้า ชื่อศาลเจ้าว่า ศาลเจ้าฮกเต็ก ศาลเจ้าดังกล่าวได้รับการนับถือมากจากฮ่องเต้พระองค์หนึ่งซึ่งได้ตั้งชื่อใหม่ให้กับเทพฮกเต็กว่า ถู่ที้กง อันแปลว่าเทพเจ้าแห่งผืนดินทั้งหลาย ชาวจีนจึงยึดถือว่าท่านเป็นเทพเจ้าที่มานับแต่นั้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ผลงานในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีจำนวนมากมาย เข็มทิศ การพิมพ์หนังสือและดินปืนเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ยิ่งใหญ่สามประการที่ได้รับการพัฒนาและประยุกต์ใช้อย่างเต็มที่ในยุคนี้ ในจำนวนนี้ วิธีการพิมพ์โดยใช้ตัวเรียงพิมพ์ที่ประดิษฐ์คิดสร้างใหม่โดยปี้เซิงเกิดขึ้นก่อนยุโรปถึง 400 ปี ซูซ่งได้ผลิตเครื่องสังเกตปรากฏการณ์ดวงดาวและนาฬิกาทางดาราศาสตร์เครื่องแรกของโลก jumbo…

Continue Reading

ชือโหยว

ชือโหยว (จีน 蚩尤 พินอิน Chīyóu) เป็นผู้นำของชนเผ่าจิ่วหลี (九黎) ในประเทศจีนยุคโบราณ ชือโหยวเป็นที่รู้จักจากการเป็นผู้ที่พ่ายแพ้ในการรบกับหวงตี้ (จักรพรรดิเหลือง) ในยุคสามราชาห้าจักรพรรดิในเทพปกรณัมจีน สำหรับชาวม้ง ชือโหยว เป็นกษัตริย์ในตำนานผู้เฉลียวฉลาดในตำนานได้บรรยายลักษณะของชือโหยวว่ามีศีรษะเป็นทองแดง มีหน้าผากเป็นเหล็ก มี 4 ตา 8 แขน ทุกมือถืออาวุธแหลมคมในบางแหล่งระบุว่าชือโหยวมีศีรษะเหมือนวัวกระทิงมีสองเขา แต่มีกายเป็นมนุษย์ กล่าวกันว่าชือโหยวมีความดุร้ายและมีพี่น้อง 81 คน ปลายรัชกาลซ่งไท่จง/เจ้ากวงอี้ ชนเผ่าตั่งเซี่ยง ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเริ่มมีขุมกำลังเข้มแข็งขึ้น หันไปสวามิภักดิ์กับแคว้นเหลียว ราชสำนักซ่งจึงสั่งปิดชายแดนตัดขาดการติดต่อค้าขายระหว่างกัน ทำให้เกิดธุรกิจค้าเกลือเถื่อน และการปล้นสะดมสินค้าในบริเวณใกล้เคียง สองฝ่ายปะทะกันหลายครั้งแต่ไม่อาจเอาชนะกันได้ ต่อเมื่อ ปี 1006 ภายหลังซ่งทำสัญญาสงบศึกกับเหลียว จึงหันมาผูกมิตรกับซ่งเหนือ เปิดการค้าชายแดนตามปกติจวบกระทั่งปี พ.ศ. 1581 หลี่หยวนเฮ่า ผู้นำคนใหม่ในเวลานั้น สถาปนาแคว้นซี่เซี่ย ขึ้นเป็นผลสำเร็จ ที่เมืองซิ่งโจว (ปัจจุบันคือเมืองอิ๋นชวน มณฑลหนิงเซี่ย) ซีเซี่ยฉีกสัญญาพันธมิตรที่มีมากว่า 30 ปี เริ่มรุกรานเข้าดินแดนภาคตะวันตกของซ่งเหนือ ขณะที่กองทัพซ่งเหนือพ่ายแพ้ครั้งแล้วครั้งเล่า พยายามเรียกร้องให้มีการเจรจากสงบศึกแต่ไม่เป็นผล อย่างไรก็ตาม เมื่อทำศึกเป็นเวลานาน การค้าที่เคยมีต้องประสบกับความเสียหาย ซีเซี่ยกลับเป็นฝ่ายเดือดร้อนเพราะขาดแคลนสินค้าที่จำเป็น สุดท้าย ซีเซี่ยจึงยอมเจรจาสงบศึก…

Continue Reading

เฉินหนง

เฉินหนง (จีน 神農 พินอิน Shénnóng เทพกสิกรรม), อู๋กู่เฉิน (五穀神 เทพห้าธัญพืช), หรือ อู๋กู่เซียนตี้ (五穀先帝 ปฐมกษัตริย์ห้าธัญพืช) เป็นเทวดาในศาสนาพื้นบ้านจีนตามประมวลเรื่องปรัมปราจีน และเป็นที่เคารพนับถือในฐานะวีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งยุคก่อนประวัติศาสตร์ของจีน บางคราวเฉินหนงนับเป็นหนึ่งในสามราชา (三皇) ซึ่งเป็นกลุ่มผู้นำจีนโบราณ นอกจากนี้ ยังเชื่อกันว่า เฉินหนงไม่เพียงแต่สอนชาวจีนเพาะปลูก เขายังสอนชาวจีนใช้ยาสมุนไพรด้วย ทั้งยังถือว่า เขาคิดค้นหลายสิ่ง เช่น จอบ, คันไถ, ขวาน, บ่อน้ำ, ชลประทาน, การรักษาอายุเมล็ดพันธุ์พืชโดยใช้ปัสสาวะม้าต้มสุก, ตลาดนัดวันหยุดสุดสัปดาห์ขายผลิตผลทางเกษตรกรรม, และปฏิทินจีน ตลอดจนพัฒนาและปรับปรุงความรู้ความเข้าใจทางแพทย์ เช่น การจับชีพจร, การฝังเข็ม, และการรมยา รวมถึงก่อตั้งพิธีกรรมเกี่ยวกับฤดูเก็บเกี่ยว ในเรื่องปรัมปราจีน เฉินหนงสอนมนุษย์ใช้คันไถ และสอนเรื่องอื่น ๆ ให้แก่มนุษย์ เช่น การเกษตรขั้นพื้นฐาน และการใช้สมุนไพร ทั้งยังเป็นเทวดาแห่งลมร้อน (burning wind) ซึ่งน่าจะเกี่ยวเนื่องกับความเชื่อเรื่องจักรพรรดิหยาน (炎帝) และการเกษตรแบบตัดและเผา (slash-and-burn)อนึ่ง ถือกันว่า เฉินหนงเป็นบรรพบุรุษของชือโหยว (蚩尤) เพราะมีลักษณะทางกายภาพที่เหมือนกัน คือ มีศีรษะเหมือนวัว…

Continue Reading

เฉ่งจุ้ยจ้อซู

เฉ่งจุ้ยจ้อซู หรือสำเนียงมาตรฐานว่า ชิงฉุ่ยจู้ชือ (จีน 清水祖師 พินอิน Qīngshuǐ zǔshī เป๊ะห์โอยจี Chheng-chúi-Chó͘-su 1047-1101), คนฮกเกี้ยนนิยมขนาดนามแบบลำลองว่า จ้อซูก้ง (จีน 祖師公 เป๊ะห์โอยจี Chó͘-su-kong), มีนามเดิมว่า ตันเจียวเอ็ง (จีน 陳昭應 เป๊ะห์โอยจี Tân Chiau-èng) เป็นพิกษุชาวจีน เกิดสมัย ราชวงศ์ซ่งเหนือช่วงรัชกาลจักรพรรดิซ่งเหรินจง ณ ตำบลอันเค๊ เมืองจวนจิว มณฑลฮกเกี้ยนราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีน 宋朝 พินอิน Sòng Cháo เวด-ไจลส์ Sung Ch’ao) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปี พ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหารของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ…

Continue Reading

เจ้าแม่มั่วโกว

เทพธิดาหมากู หรือ เจ้าแม่มั่วโกว (จีน 麻姑อังกฤษ Ma_Gu) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีน เทพธิดาหมากู เป็นชื่อนางฟ้าที่มีชื่อเสียงมากที่สุดองค์หนึ่งของจีน เป็นนางฟ้าที่มีที่มาจากคติลัทธิเต๋า ภาพลักษณ์ของหมากูจึงเป็นนางฟ้าผู้เลอโฉม ที่คงความงามและสดสวยอยู่ตลอดกาล การส่งมอบรูปวาดของหมากูจึงเป็นที่พึงใจของผู้รับเป็นยิ่งนัก เพราะเป็นเสมือนการอวยพรชมเชยให้เธอมีความงามอันเป็นอมตะดังนางฟ้าหมากู (ด้วยเหตุนี้ การมอบรูปหมากูเป็นของขวัญหรือภาพอวยพรจะต้องใช้กับผู้หญิงเท่านั้น ห้ามใช้กับผู้ชายเป็นอันขาด) และพระนางยัง ปรากฏกูตอนเหตุการณ์ตอนอวยพรวันเกิดเจ้าแม่ซีหวังหมู่ ในทุกวันที่ 3 เดือน 3 ของทุกปี (ตามปฏิทินจันทรคติจีน)ซึ่งเป็นวันเกิดของเจ้าแม่ซีหวังหมู่ ไม่ว่าหมากูจะอยู่ ณ ที่ใด เมื่อถึงวันดังกล่าวก็จะรีบเร่งกลับมาให้ทันวันเกิดของพระนางทุก ๆ ครั้ง หมากูจะเตรียมของขวัญอันล้ำเลิศไปถวายให้ นั้นคือ ผลท้อใบใหญ่ และสุราหลิงจือ ที่มีรสชาติกลมกล่อมเหนือกว่าสุรารสเลิศใด ๆภาษาจีน (汉语 – 漢語 – Hànyǔ – ฮั่นอวี่, 华语 – 華語 – Huáyǔ – หัวอวี่ หรือ 中文 – Zhōngwén – จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ…

Continue Reading

เจ้าแม่จูแซเนี้ย

จูแซเนี้ย (จีน 註生娘娘 พินอิน Zhù shēng niángniáng เป๊ะห์โอยจี Tsù-senn-niû-niû) หรือ เจ้าแม่ประทานบุตร คนฮกเกี้ยนนิยมขนาดนามท่านแบบลำลองว่า จูแซม่า (จีน 註生媽 เป๊ะห์โอยจี Tsù-senn-ma) เทพเจ้าที่ดูแลเรื่องการกำเนิดบุตรของชาวฮกเกี้ยน ไต้หวัน และ แต้จิ๋ เจ้าแม่ประทานบุตร สมัยโบราณ การแพทย์ยังไม่เจริญเติบโต การเกิดจึงเป็นเรื่องอันตรายและในทัศนคติด้านจริยธรรมของจีน ผู้หญิงหากไม่สามารถให้กำเนิดบุตรชาย ก็จะถูกดูแคลนหรือเพิกเฉย หรืออาจจะถูกขับไล่ให้กลับไปอยู่บ้านแม่ของตน ด้วนเหตุนี้เจ้าแม่กำเนิดจึงกลายเป็นเทพที่มีความสำคัญและเป็นที่เคารพยิ่งของหญิงทั้งหลาย เพื่ออธิษฐานขอให้ตนเองได้บุตรชายและขอให้ตน คลอดอย่างปลอดภัยฮกโล่ (ภาษาแคะ 福佬, พินอิน fúlǎo, แป่ะเอ่ยี้ Hok-ló) เรียกตัวเองว่า ฮกเกี้ยน (ภาษาหมิ่นใต้ 福建, แป่ะเอ่ยี้ Hok-kiàn) หรืออีกอย่างว่า บั่นลั้ม (ภาษาหมิ่นใต้ 閩南, แป่ะเอ่ยี้ Bân-lâm, พินอิน mǐnnán คนไทยรู้จักในสำเนียงจีนกลางว่า หมิ่นหนาน) หมายถึง ชนเผ่าจีนที่มีถิ่นฐานตั้งอยู่ในมณฑลฮกเกี้ยนหรือมณฑลฝูเจี้ยนทางตอนใต้ของจีน เป็นหนึ่งในชนเผ่าจีนโพ้นทะเล มีจำนวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นประชากรส่วนใหญ่ของภูเก็ต ตรัง สตูล…

Continue Reading

เจ้าแม่เก้าเทียงเหี่ยงนึ่ง

กิวเทียนเหี่ยงนึ่ง หรือ จิ่วเทียนเสวียนนี่ (จีน 九天玄女, อังกฤษ Xuan Nü) เป็นเทวนารีตามความเชื่อปรัมปราของจีนและเป็นนิยมบูชาในลัทธิเต๋ กิวเทียนเหี่ยงนึ่งกิวเทียงเนี่ยเนี้ย เป็นเทพสตรีที่สำคัญในศาสนาเต๋า เป็นเทวนารีที่ปรากฏแต่โบราณกาลของจีน ในตำนานโบราณกล่าวว่า เง็กเซียนฮ่องเต้ ได้มีพระราชโองการแต่งตั้ง ให้สมญานามว่า “กิวเทียงเหี่ยงนึ่ง” หมายถึง เทพสตรีผู้ศักดิ์สิทธิ์ในสวรรค์ทั้ง 9 ชั้น หรือ “กิวเทียงเซี้ยบ้อ” ตามตำนานจีนโบราณระบุว่าทรงเป็นผู้ประทานกำเนิดแห่งราชวงศ์ซาง คือ มีหญิงสาวคนหนึ่งนามว่า เจียนตี๋ วันหนึ่งเธอไปเดินเล่นริมทะเล นกนางแอ่นสีดำตัวหนึ่งได้ปากฏตัวขึ้นและไข่ให้เธอกิน ก่อนที่จะบินลับขอบฟ้าไป เมื่อเจียนตี๋ได้กินไข่นกนั้นเข้าไปเธอจึงตั้งครรภ์ และได้ให้กำเนิดองค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซาง โดยกล่าวไว้ว่านกนางแอ่นสีดำคือองค์กิ้วเที้ยนเฮี้ยนลื้อ และในตำนานยังปรากฏว่า เหี่ยงนึ่งได้ช่วยเหลือกษัตริย์อึ่งตี่ ในการต่อสู้กับข้าศึกที่ชื่อ ชีอิ๊วเหี่ยงนึ่ง ได้แปลงเป็นนกนางแอ่น แม้ว่าจะไม่สามารถกลับสภาพดังเดิมได้ แต่ก็สามารถแปลงกลับมาในรูปครึ่งเทพครึ่งนก และที่สำคัญคือได้ช่วยเหลือให้กษัตริย์รอดพ้นจากภัยพิบัติได้จากสงคราม ในปัจจุบัน ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย มีสัดส่วนเป็นจำนวนมากถึง 12% (พ.ศ. 2546) ของประชากรทั้งประเทศ ส่วนมากอาศัยอยู่ในเมือง ประกอบอาชีพค้าขาย นอกจากนี้ยังแทรกซึมอยู่ในทุกวงการ อีกทั้งยังเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง นักการเมือง รวมทั้งเชื้อพระวงศ์ก็ยังมีเชื้อสายจีนด้วย jumbo jili เหตุที่ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย สามารถผสมกลมกลืนกับชาวไทยได้ดียิ่ง ก็เพราะการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ แม้ในสมัยก่อนจะมีในอัตราน้อย…

Continue Reading

เจ็ดนางฟ้า

เจ็ดนางฟ้า เป็นตำนานปรัมปราของจีนว่าด้วยงานประเพณีใน วันที่ 7 เดือน 7 (จีน 七夕 พินอิน qī xī แปลว่า ราตรีแห่งเลขเจ็ด) ตามปฏิทินแบบจีน เป็นที่มาของประเพณี ทานาบาตะ ในญี่ปุ่น และประเพณี Chilseok (칠석) ในเกาหลี ซึ่งมีการโยงตำนานนี้กับสถานที่ในภูเขาคึมกังซาน (ภูเขาเพชร) ที่ว่ากันว่าเป็นจุดที่นางฟ้าลงมาเล่นน้ำด้วย เทศกาลวันดังกล่าวเปรียบได้ว่าเป็นวันแห่งความรักในประเพณีจีน ช่วงเวลาแห่งประเพณีนี้คือเมื่อดวงดาวในสามเหลี่ยมฤดูร้อนโคจรขึ้นสูงเหนือศีรษะ ดาวสำคัญในสามเหลี่ยมฤดูร้อนที่เกี่ยวข้องกับตำนานนี้ คือดาวอัลแทร์ และดาวเวกา นักวิชาการส่วนหนึ่งเชื่อว่า ตำนานเจ็ดนางฟ้าของจีนนี้ (ซึ่งเล่าขานกันในเกาหลี เวียดนาม และญี่ปุ่นด้วย) สามารถสืบกันได้กับนิทานเรื่องพระสุธนมโนห์รา ซึ่งเล่ากันแพร่หลายในไทย ลาว และอินโดนีเซีย โดยมีแก่นเรื่องคล้ายคลึงกันและทำให้เห็นได้ว่า น่าจะมาจากแหล่งเดียวกัน กล่าวคือ เป็นเรื่องของผู้หญิงเจ็ดคน (หรือแปดคนในตำนานบางฉบับของเกาหลี) ที่มีความสามารถมากกว่ามนุษย์ คือ บินได้ด้วยเครื่องช่วยบางอย่าง (ปีกและหางของกินรี และอาภรณ์เทพธิดาของนางฟ้าทั้งเจ็ด) ลงมายังโลกมนุษย์เพื่อเล่นน้ำ น้องสาวคนเล็กสุดและสวยที่สุดของนางเหล่านี้ถูกมนุษย์ผู้ชายจับได้และยึดอุปกรณ์ช่วยบินไว้ (ในบางตำนาน ผู้จับได้เป็นตัวพระเอกเอง บางตำนานเป็นนายพรานซึ่งนำไปถวายพระเอกที่เป็นเจ้าเหนือหัวของตน) นางเอกจึงยอมแต่งงานกับมนุษย์ แต่ต่อมามีเหตุให้นางเอกต้องใช้อุปกรณ์ทิพย์บินหนีจากโลกมนุษย์คืนไปสู่ถิ่นเดิมของนาง และพระเอกต้องเริ่มต้นผจญภัยเพื่อตามหาตัวนางคืน เรื่องดังกล่าวมีจารึกเป็นภาพสลักไว้ที่ บุโรพุทโธ ในอินโดนีเซีย เนื่องจากเชื่อว่าเป็นอดีตชาติหนึ่งของพระพุทธเจ้า…

Continue Reading